วันศุกร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2553

๕ ธันวา มหาราช

คำกล่าวสดุดีถวายพระพรชัยมงคล
ในพิธีถวายราชสักการะเนื่องในมหามงคลสมัยเฉลิมพระชนมพรรษา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
****************
ขอเดชะ  ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม
                    ข้าพระพุทธเจ้า  นายทินกร  ภาสตโรจน์ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนตูม  ประธานกลุ่มโรงเรียนพุทไธสง ๒  พร้อมด้วยผ้อำนวยการโรงเรียนข้าราชการครู  นักเรียน  ผู้ปกครอง  คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน  และพสกนิกรในเขตบริการของกลุ่มโรงเรียนพุทไธสง ๒  ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต  น้อมเกล้าน้อมกระหม่อม ถวายพระพรชัยมงคล  ในวโรกาสมหามงคลสมัยวันเฉลิมพระชนมพรรษา ในใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทนี้     ขออานุภาพแห่งพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งปวง จงดลบันดาลอภิบาลรักษาใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท  ให้ทรงสถิตเป็นมิ่งขวัญแก่ปวงข้าพระพุทธเจ้า   และเหล่าพสกนิกร ทุกถ้วนหน้า   ตลอดจิรัฏญิติกาล
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
***************

วันพุธที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2553

ด้วย ๙ ชาวไทย

ขอเชิญพสกนิกรลงนามถวายพระพรผ่านทางอินเทอร์เน็ต
http://www.9forking.com/

UTQ กับหลากหลายความเห็น

เราลองมารับฟังความเห็นบางความเห็นเกี่ยวกับ UTQ
.................เราสมัครมาหลายวันแล้ว ยังสมัครไม่ได้เลย กรรม จริงๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆแถมจะหมดเวลา รุ่นแรกสิ้นเดือนพย นี้อีก กรรมแท้ๆๆ ต้อแต้ จริงๆๆๆเล้ยเฮ้ออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออยากจะกลั้นใจสมัคร..................

.................ระบบแสนจะเน่า เข้าก็ยาก หาหัวข้อที่จะอบรมก้อไม่เจอ ลำบากมากเลย จนป่านนี้ความคืบหน้ายังเป็นศูนย์เลยคร้าบ วันๆ ไม่ต้องสอนแล้ว รอเข้ายูทีคิว อย่างเดียวเลยครับ.................

...........กว่าจะเข้าได้ลำบากมาก ปรับปรุงอุปกรณืในการใช้อินเตอร์เน็ตหมดไปหลายตังยังเข้าลำบากมาก วอนเจ้านายเบื้องบนช่วยที ปรับปรุงแล้วก็เข้าเรียนไม่ได้ วันๆๆวุ่นวายกับเรื่องเดียว อยากทำอยากอบรม ยอมเสียเงินในการปรับปรุงรองรับกับอินเตอร์เน็ตแล้วก็ยังลำบากมาก พื้นที่หางไกลเมืองก็ลำบาก ช่วยแก้ไขด้วย..............

แล้วท่านละครับ  มีความเห็นอย่างไรบ้าง  เล่าสู่กันฟังหน่อย

เพิ่มจาก ครูบ้านนอกดอทคอม ครับ  ลองตามไปอ่านดู  ..
http://www.kroobannok.com/board_view.php?b_id=47800&bcat_id=11

กฎกระทรวงว่าด้วยการ...

กฎกระทรวง.. ๒๕๕๓.. ๒๕๔๒(ฉบับที่ ๒) .. ๒๕๔๕ และมาตรา ๔๗.. ๒๕๔๒ อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติ ) กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน.. ๒๕๔๖ ) กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน.. ๒๕๔๖ การประเมินคุณภาพภายในหมายความว่า การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การประเมินคุณภาพภายนอกหมายความว่า การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา(องค์การมหาชน) หรือผู้ประเมินภายนอก การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาหมายความว่า กระบวนการติดตามตรวจสอบ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาหมายความว่า กระบวนการพัฒนาการศึกษาเข้าสู่คุณภาพ
สถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ
สถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ
ข้อ ๒ ในกฎกระทรวงนี้
การติดตาม และการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกำหนดสำหรับการประกันคุณภาพภายใน ซึ่งกระทำโดยบุคลากรของสถานศึกษานั้น
หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กำกับดูแลสถานศึกษา
การติดตาม และการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งกระทำโดย
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
ความก้าวหน้าของการปฏิบัติตามแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และจัดทำรายงานการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา พร้อมทั้งเสนอแนะมาตรการเร่งรัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยมีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา การจัดระบบ
และโครงสร้าง การวางแผน และการดำเนินงานตามแผน รวมทั้งการสร้างจิตสำนึกให้เห็นว่า
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาจะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นความรับผิดชอบร่วมกันของทุกคน
สำนักงานหมายความว่า สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาองค์การมหาชน)
) การประเมินคุณภาพภายใน ) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ) การประเมินคุณภาพภายนอก
ข้อ ๕ ให้สถานศึกษาดำเนินการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี
) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับประกอบด้วย ) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตาม () ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง เป็นประธานกรรมการ ) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นรองประธานกรรมการ ) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งโดยคำแนะนำของคณะกรรมการการศึกษา ) มีสัญชาติไทย ) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ ) ไม่เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิด ) ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการ () ตาย ) ลาออก ) รัฐมนตรีให้ออกเพราะบกพร่องต่อหน้าที่ มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือหย่อนความสามารถ ) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามอย่างหนึ่งอย่างใดตามข้อ ๑๐ ) วางระเบียบหรือออกประกาศกำหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกัน ) เสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกษาโดยให้นำผล ) แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อดำเนินการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษา ) ปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่รัฐมนตรีหรือคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ) กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ) จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ ) ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ) จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ) จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน ) จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง() ต้องสอดคล้องกับ() ) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการที่จำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ) กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และความสำเร็จของการพัฒนาไว้อย่างชัดเจน ) กำหนดวิธีดำเนินงานที่มีหลักวิชา ผลการวิจัย หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่อ้างอิงได้ ) กำหนดแหล่งวิทยาการภายนอกที่ให้การสนับสนุนทางวิชาการ ) กำหนดบทบาทหน้าที่ให้บุคลากรของสถานศึกษาและผู้เรียนรับผิดชอบและดำเนินงาน ) กำหนดบทบาทหน้าที่และแนวทางการมีส่วนร่วมของบิดา มารดา ผู้ปกครอง ) กำหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ) จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในการประกอบด้วย ) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตาม () ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง เป็นประธานกรรมการ ) เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นรองประธานกรรมการ ) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งโดยคำแนะนำของคณะกรรมการการ() โดยอนุโลม ) วางระเบียบหรือออกประกาศกำหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกัน ) เสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกษา โดยนำผล ) แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อดำเนินการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ) ปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่รัฐมนตรีหรือคณะกรรมการการอาชีวศึกษามอบหมาย ) กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ) จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ) ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ) จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ) จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน ) จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง() ต้องสอดคล้องกับ() จะต้อง ) วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์ และแผนดำเนินการของสถานศึกษา ) กระบวนการเรียนรู้และการฝึกประสบการณ์ ) การวิจัยและนวัตกรรม ) การบริการทางวิชาการแก่ชุมชนและสังคม ) การทะนุบำรุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา และนันทนาการ ) การบริหารและการจัดการสถานศึกษา ) การพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา ) การเงินและงบประมาณของสถานศึกษาคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในประกอบด้วย ) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตาม () ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง เป็นประธานกรรมการ ) เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นรองประธานกรรมการ ) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งโดยคำ แนะนำ ของคณะกรรมการ() โดยอนุโลม ) วางระเบียบหรือออกประกาศกำหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกัน ) เสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกษาโดยนำผล ) แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อดำเนินการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา ) ปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่รัฐมนตรีหรือคณะกรรมการการอุดมศึกษามอบหมาย ) ระบบการประกันคุณภาพภายในของคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ) ผลการปฏิบัติงานของคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาตามระบบการประกัน ) ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีหน่วยงานหรือคณะกรรมการ ) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน ) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาดำเนินการตามระบบการประกันคุณภาพ ) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบและกลไกควบคุมคุณภาพ) หลักสูตรการศึกษาในสาขาวิชาต่าง ๆ ) คณาจารย์และระบบการพัฒนาคณาจารย์ ) สื่อการศึกษาและเทคนิคการสอน ) ห้องสมุดและแหล่งการเรียนรู้อื่น ) อุปกรณ์การศึกษา ) สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้และบริการการศึกษา ) การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนของนักศึกษา ) องค์ประกอบอื่นตามที่แต่ละสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเห็นสมควร ) เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ) ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็นธรรม และโปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็น ) สร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลักการศึกษา ) ส่งเสริม สนับสนุน และร่วมมือกับสถานศึกษาในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพ และพัฒนาการจัดการศึกษาของรัฐ ) ความเป็นอิสระ เสรีภาพทางวิชาการ เอกลักษณ์ ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ) มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา ) มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษา ) มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ) มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน.. ๒๕๕๓ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๔๗ แห่งพระราชบัญญัติ.. ๒๕๔๒ บัญญัติให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งประกอบด้วยระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ทั้งนี้ ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาดังกล่าว ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
ข้อ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายนอกเพื่อรับรองมาตรฐานและมุ่งพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาทุกระดับ ต้องประกอบด้วย
โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ทั้งนี้ ด้วยการสนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัดและการมีส่วนร่วมของชุมชน
ข้อ ๖ ให้สถานศึกษาจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในเสนอต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาและเปิดเผย
รายงานนั้นต่อสาธารณชน
ข้อ ๗ สถานศึกษาต้องนำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปประกอบการ
จัดทำแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
หมวด ๒
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ส่วนที่ ๑
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อ ๘ การประกันคุณภาพภายในที่กำหนดในส่วนนี้ ให้ใช้บังคับแก่การจัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน แต่ไม่รวมถึงการจัดการอาชีวศึกษา
ข้อ ๙ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ขั้นพื้นฐาน จากผู้มีความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในด้านการจัดการศึกษา
การบริหารสถานศึกษา หรือการประเมินการจัดการศึกษา จำนวนไม่เกินเก้าคนเป็นกรรมการ
ซึ่งในจำนวนนี้จะต้องแต่งตั้งจากบุคคลที่ไม่เป็นข้าราชการหรือพนักงานมหาวิทยาลัยที่มีตำแหน่ง
หรือเงินเดือนประจำจำนวนไม่น้อยกว่าห้าคน
ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานแต่งตั้งข้าราชการของสำ นักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งดูแลงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นกรรมการ
และเลขานุการ
ข้อ ๑๐ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
ที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
หรือผู้ดำรงตำแหน่งซึ่งรับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่
พรรคการเมือง
ข้อ ๑๑ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี
ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระ ให้แต่งตั้งผู้อื่นดำรงตำแหน่งแทน
เว้นแต่วาระของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเหลือไม่ถึงเก้าสิบวันจะไม่แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทน
ก็ได้ และให้ผู้ได้รับแต่งตั้งแทนตำแหน่งที่ว่างนั้นอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้ว
ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้น ในระหว่างที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตำแหน่ง ให้ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่
ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้ว
เมื่อครบกำหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่
ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตำแหน่งเพื่อดำเนินงานต่อไปจนกว่า
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่
ข้อ ๑๒ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งเมื่อ
ข้อ ๑๓ คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีอำนาจหน้าที่
ดังต่อไปนี้
คุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการประกันคุณภาพ
ภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปปรับปรุงคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ขั้นพื้นฐาน
มอบหมาย
ข้อ ๑๔ ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในตามหลักเกณฑ์
และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยดำเนินการ
ดังต่อไปนี้
ของสถานศึกษา
การดำเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้สถานศึกษายึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยการส่งเสริม สนับสนุน และกำกับดูแลของหน่วยงาน
ต้นสังกัด
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ไม่สามารถปฏิบัติงานบางประการตามที่กำหนดในวรรคหนึ่งได้
ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา แล้วแต่กรณี ประกาศผ่อนผันการปฏิบัติ
และวางแนวทางในการประกันคุณภาพภายในให้เหมาะสมกับสภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษานั้น
แล้วรายงานให้รัฐมนตรีทราบ
ข้อ ๑๕ การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อ ๑๔
มาตรฐานการศึกษาของชาติ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา และมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด และต้องครอบคลุมสาระการเรียนรู้
และกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งคำนึงถึงศักยภาพของผู้เรียน ชุมชน และท้องถิ่นด้วย
ข้อ ๑๖ การจัดทำ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อ ๑๔
ให้ดำเนินการดังต่อไปนี้
และเป็นรูปธรรม
ให้ครอบคลุมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้
การส่งเสริมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การพัฒนาบุคลากร และการบริหารจัดการ เพื่อนำไปสู่
มาตรฐานการศึกษาที่กำหนดไว้
ตามที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
และองค์กรชุมชน
ข้อ ๑๗ ให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาวิเคราะห์ วิจัย และเผยแพร่นวัตกรรมเกี่ยวกับ
รูปแบบและเทคนิควิธีการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุน และร่วม
พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ข้อ ๑๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดให้มีการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษาอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปีและแจ้งผลให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานทราบ
รวมทั้งให้เปิดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน
ส่วนที่ ๒
การอาชีวศึกษา
ข้อ ๑๙ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า
อาชีวศึกษา
อาชีวศึกษา จากผู้มีความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในด้านการจัดการศึกษา
การบริหารสถานศึกษา หรือการประเมินการจัดการศึกษา จำนวนไม่เกินเก้าคนเป็นกรรมการ
ซึ่งในจำนวนนี้จะต้องแต่งตั้งจากบุคคลที่ไม่เป็นข้าราชการหรือพนักงานมหาวิทยาลัยที่มีตำแหน่ง
หรือเงินเดือนประจำจำนวนไม่น้อยกว่าห้าคน
ให้เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษาแต่งตั้งข้าราชการของสำนักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษาซึ่งดูแลงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นกรรมการและเลขานุการ
ข้อ ๒๐ ให้นำความในข้อ ๑๐ ข้อ ๑๑ และข้อ ๑๒ มาใช้บังคับกับคุณสมบัติ ลักษณะ
ต้องห้าม วาระการดำรงตำแหน่ง การแต่งตั้งกรรมการแทน การแต่งตั้งกรรมการเพิ่ม และการพ้นจาก
ตำแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามข้อ ๑๙
ข้อ ๒๑ คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษามีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
คุณภาพภายในการอาชีวศึกษา เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการประกันคุณภาพภายใน
การอาชีวศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปปรับปรุงคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
อาชีวศึกษา
ข้อ ๒๒ ให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในตามหลักเกณฑ์
และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา โดยดำเนินการดังต่อไปนี้
ของสถานศึกษา
การดำเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้สถานศึกษายึดหลักการมีส่วนร่วมของบุคลากร
ในสถานศึกษา ผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
โดยการส่งเสริม สนับสนุนและกำกับดูแลของหน่วยงานต้นสังกัด
ข้อ ๒๓ การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อ ๒๒
มาตรฐานการศึกษาของชาติ และมาตรฐานการศึกษาการอาชีวศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกำหนด และต้องครอบคลุมสมรรถนะวิชาชีพทุกหลักสูตรและสาขาวิชา รวมทั้งเหมาะสมกับ
สภาพผู้เรียน สถานศึกษา สถานประกอบการ ชุมชน ท้องถิ่นและเทคโนโลยี
ข้อ ๒๔ ให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาจัดโครงสร้างการบริหารที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาและสอดคล้องกับระบบการประกันคุณภาพภายใน
ข้อ ๒๕ การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อ ๒๒
สอดคล้องกับแนวทางที่สถานศึกษาได้กำหนดไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๒๖ สถานศึกษาอาชีวศึกษาต้องดำ เนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา โดยให้มีการกำกับและติดตามตรวจสอบการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
และต่อเนื่อง
ข้อ ๒๗ ให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาจัดให้มีการประเมินมาตรฐานวิชาชีพแก่ผู้เรียน
ตามหลักสูตรที่เปิดสอนครบทุกสาขาวิชา ตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา หรือตามระยะเวลา
ที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเห็นสมควร
ข้อ ๒๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาอาชีวศึกษาและสถานประกอบการที่มีส่วน
ร่วมในการจัดการอาชีวศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนและร่วมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษาอาชีวศึกษา
ข้อ ๒๙ ให้หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาอาชีวศึกษาจัดให้มีการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษาอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปีและแจ้งผลให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาทราบ รวมทั้ง
ให้เปิดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน
ส่วนที่ ๓
การอุดมศึกษา
ข้อ ๓๐ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า
ระดับอุดมศึกษา
การอุดมศึกษา จากผู้มีความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในด้านการจัดการศึกษา
การบริหารสถานศึกษา หรือการประเมินการจัดการศึกษา จำนวนไม่เกินเก้าคนเป็นกรรมการ
ซึ่งในจำนวนนี้จะต้องแต่งตั้งบุคคลที่ไม่เป็นข้าราชการหรือพนักงานมหาวิทยาลัยที่มีตำแหน่ง
หรือเงินเดือนประจำจำนวนไม่น้อยกว่าห้าคน
ให้เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษาแต่งตั้งข้าราชการของสำนักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษาซึ่งดูแลงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นกรรมการและเลขานุการ
ข้อ ๓๑ ให้นำความในข้อ ๑๐ ข้อ ๑๑ และข้อ ๑๒ มาใช้บังคับกับคุณสมบัติ ลักษณะ
ต้องห้าม วาระการดำรงตำแหน่ง การแต่งตั้งกรรมการแทน การแต่งตั้งกรรมการเพิ่ม และการพ้นจาก
ตำแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามข้อ ๓๐
ข้อ ๓๒ คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษามีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
คุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการประกันคุณภาพภายใน
ระดับอุดมศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอุดมศึกษา
การประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปปรับปรุงคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ข้อ ๓๓ ให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน โดยยึดหลัก
เสรีภาพทางวิชาการและความมีอิสระในการดำเนินการของสถานศึกษา เพื่อให้มีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
อย่างต่อเนื่อง และเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก
ข้อ ๓๔ หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ให้พิจารณาจาก
โดยคำนึงถึงมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด
คุณภาพภายในที่กำหนดไว้
ที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาตามตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา
ข้อ ๓๕ วิธีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ให้ใช้แนวปฏิบัติ
ดังต่อไปนี้
ที่รับผิดชอบการดำเนินการด้านการประกันคุณภาพการศึกษาขึ้น โดยมีหน้าที่พัฒนา บริหาร
และติดตามการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ตลอดจนประสานกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้เกิด
ความมั่นใจว่าการจัดการศึกษาจะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อใช้กำกับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพภายใต้กรอบนโยบาย
และหลักการที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด
ภายใน โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา
ขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิตบัณฑิต ดังต่อไปนี้
ให้แต่ละคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษาตามที่เห็นสมควร โดยให้สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาส่งเสริม
และสนับสนุนให้มีการพัฒนาด้านการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับคณะวิชาของสถานศึกษา
ระดับอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ข้อ ๓๖ ให้หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษานั้นอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปีและแจ้งผลให้สถานศึกษา
ระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปิดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน
หมวด ๓
การประกันคุณภาพภายนอก
ข้อ ๓๗ การประกันคุณภาพภายนอกให้คำนึงถึงจุดมุ่งหมายและหลักการ ดังต่อไปนี้
จริงและมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
ของชาติ โดยให้มีเอกภาพเชิงนโยบาย ซึ่งสถานศึกษาสามารถกำหนดเป้าหมายเฉพาะและพัฒนา
คุณภาพการศึกษาให้เต็มตามศักยภาพของสถานศึกษาและผู้เรียน
ภายในของสถานศึกษา
เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ
สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
และเป้าหมายของสถานศึกษา
ข้อ ๓๘ ในการประกันคุณภาพภายนอก ให้สำนักงานทำการประเมินคุณภาพภายนอก
สถานศึกษาแต่ละแห่งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติและครอบคลุมหลักเกณฑ์ในเรื่อง ดังต่อไปนี้
ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องทำการประเมินคุณภาพภายนอกจากมาตรฐานอื่นเพิ่มเติมจาก
มาตรฐานที่กำหนดในวรรคหนึ่ง ให้สำนักงานประกาศกำหนดมาตรฐานอื่นได้โดยความเห็นชอบ
ของรัฐมนตรี
ข้อ ๓๙ วิธีการในการประกันคุณภาพภายนอก ให้เป็นไปตามระเบียบที่สำนักงานกำหนด
หน้า ๓๔
เล่ม ๑๒๗ ตอนที่ ๒๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ เมษายน ๒๕๕๓
ข้อ ๔๐ ในกรณีที่ผลการประเมินคุณภาพภายนอกแสดงว่า ผลการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาได้ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ให้สำนักงานแจ้งเป็นหนังสือพร้อมแสดงเหตุผลที่ไม่ผ่านเกณฑ์
มาตรฐานแก่หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษานั้น และให้สถานศึกษานั้นปรับปรุงแก้ไขโดยจัดทำ
แผนพัฒนาคุณภาพและดำเนินการตามแผน เพื่อขอรับการประเมินใหม่ภายในสองปีนับแต่วันที่ได้รับ
แจ้งผลการประเมินครั้งแรก
ให้สถานศึกษาเสนอแผนพัฒนาคุณภาพต่อสำนักงานเพื่อพิจารณาอนุมัติภายในสามสิบวัน
นับแต่วันที่ได้รับแจ้งผลการประเมินตามวรรคหนึ่ง
ข้อ ๔๑ ในกรณีที่สถานศึกษาไม่ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในกำหนดเวลาตามข้อ ๔๐
ให้สำนักงานรายงานต่อคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
หรือคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือหน่วยงานต้นสังกัดอื่น แล้วแต่กรณี เพื่อพิจารณาสั่งการต่อไป
                                                            ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๑ มีนาคม พ
                                                                          ชินวรณ์ บุณยเกียรติ
                                                          รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

หมายเหตุ
การศึกษาแห่งชาติ พ
ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ
บางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๓
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติ
แห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิก
หมวด ๑
บททั่วไป
ข้อ ๓ ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนา
มาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ต้องประกอบด้วย